แสดงเวอร์ชันเต็ม : เรื่องของ "จิต"
จิต คืออะไร อยู่ที่ใด และธรรมชาติของจิต
เป็นที่สงสัย ใคร่รู้ของปุถุชนมาแต่โบราณกาล ตลอดทุกยุคสมัย เพราะความต้องการใคร่รู้ว่า
จิตบ้างวิญญาณบ้าง เป็นอะไร อยู่ที่ใด เพื่อหวังเข้าใจบ้าง หวังควบคุมและบังคับจิตหรือวิญญาณได้บ้าง หวังใช้ประโยชน์จากจิตบ้าง หวังในภพภูมิหรือชาติหน้าบ้าง หรือแม้แต่นักปฏิบัติธรรมเพื่อหวังประโยชน์ไป ในทางดับทุกข์อันดีงาม ดังนั้นจึงมีผู้พยายามแสวงหาคำตอบเหล่านี้ทั้งทางด้านปัญญา สมาธิ และไสยศาสตร์ วิทยาศาสตร์มาเป็นเวลาช้านานมาโดยตลอด จนกล่าวว่าเป็นปัญหาโลกแตก จึงไม่มีผู้ใดสามารถตอบปัญหานี้ได้อย่างถูกต้องดีงาม จนกระทั่งบังเกิดมีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์ เอง พระองค์นั้นที่ได้ทรงหงายของที่คว่ำอยู่ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ด้วยการตามประทีปในที่มืด ด้วยเห็นว่าผู้มีจักษุคือปัญญาคงเห็นได้ เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20790,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)ด้วยพระมหากรุณาคุณอันยิ่งนั่นเอง
จิตนั้นถ้าพยายามหาตัวหาตนว่าเป็นอะไร อยู่ที่ใดแล้ว โดยไม่เข้าใจธรรมหรือสภาวธรรม(ธรรมชาติ)แล้ว ก็จะเป็นดังที่ท่านหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ได้กล่าวแสดงไว้ในเรื่อง "จิตคือพุทธะ" อันเป็นส่วนหนึ่งของ"คำสอนของฮวงโป"เช่นกัน
"จิตหนึ่ง นี้เป็นสิ่งที่เห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ แต่ลองไปใช้เหตุผล(ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้เป็นเสมือนกับความว่าง อันปราศจากขอบทุกๆด้าน ซึ่งไม่อาจจะหยั่ง หรือวัดได้" (จาก อตุโล ไม่มีใดเทียม, น.๔๒๓)
จิต (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29) ธรรมชาติที่รู้อารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) ที่บ้างก็เรียกกันว่ามโน บ้างก็เรียกว่าหทัยบ้างก็เรียกว่ามนายตนะบ้างก็เรียกว่ามนินทรีย์ บ้างก็เรียกว่าวิญญาณ ฯ. หลายท่านพยายามหาว่า จิตคืออะไร? เป็นอะไร? อยู่ที่ใด? บ้างก็ว่าเจตภูต (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%95%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29) บ้างก็ว่าปฏิสนธิวิญญาณที่ลอยละล่องท่องเที่ยวแสวงหาภพใหม่หรือที่เกิดบ้าง บ้างก็ว่ากายทิพย์ บ้างก็ว่าคือสมอง บ้างก็ว่าหัวใจ บ้างก็ว่าอยู่ที่กลางอก บ้างก็ว่าอยู่ที่กลางศูนย์กาย บ้างก็ว่ากลางหน้าผาก บ้างก็ว่าเกิดมาแต่ชาติปางก่อน ฯลฯ. ล้วนแล้วแต่ปรุงแต่งกันไปต่างๆนาๆ กล่าวคือเป็นไปตามความเชื่อที่ถ่ายทอดหรือสืบต่อกันมา หรือตามความเข้าใจของตัวของตน ตามอธิโมกข์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#l%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29) ฯ. จึงต่างล้วนตกลงสู่หลุมพรางของความผิดพลาด หรือมายา (http:///)ของจิตทันที จึงเป็นไปดังคำกล่าวข้างต้นที่หลวงปู่ดูลย์ อตุโลได้กล่าวไว้นั่นเอง
จิตนั้น ตามความเป็นจริงแล้วก็เป็นสังขาร (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27491.htm%27,%200,%200,%20780,%20400,%200,%200,%200,%200,%201%29) อันคือสิ่งปรุงแต่งหรือสิ่งที่ถูกปรุงแต่งขึ้นอย่างหนึ่ง ที่เกิดขึ้นแต่มีเหตุ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%27,%200,%200,%20790,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)มาเป็นปัจจัย (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%27,%200,%200,%20790,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)กันจึงเกิดขึ้น แล้วย่อมเป็นไปภายใต้กฎพระไตรลักษณ์ที่ว่า ย่อมมีความไม่เที่ยง คงทนอยู่ไม่ได้จึงเป็นทุกข์ในที่สุด ไม่ใช่ตัวใช่ตน หรือไม่มีตัวไม่มีตนที่เป็นแก่นเป็นแกนอย่างแท้จริงเป็นอนัตตา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B2%27,%200,%200,%20790,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)เพราะเกิดมาแต่การที่มีเหตุต่างๆมาเป็นปัจจัย (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)แก่กันและกันหรือมาประชุมกันชั่วขณะหนึ่งหรือระยะเวลาหนึ่ง จึงเกิดจิตหนึ่งขึ้นเป็นธรรมดา ดังเช่น ตากระทบ รูป ย่อมเกิดจักขุวิญญาณขึ้นเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) อันคือจิตหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) กล่าวคือเมื่อเกิดการกระทบกันของอายตนะภายนอก (http:///)และภายใน (http:///)ในผู้ที่ยังดำรงขันธ์หรือชีวิตอยู่ จิตหรือวิญญาณหนึ่งๆก็ย่อมเกิดขึ้นเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) แล้วตั้งอยู่อย่างแปรปรวน แล้วย่อมดับไปเป็นธรรมดา จิตจึงมีสภาพที่เกิดดับ เกิดดับๆๆ...เป็นอยู่อย่างนี้ตลอดเวลา อันเป็นไปตามกระบวนธรรมของขันธ์ ๕ นั่นเอง ดังแสดงไว้ในชาติธรรมสูตร
http://board.agalico.com/showthread.php?t=25995
ชาติธรรมสูตร (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27369.htm#%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%27,%200,%200,%20790,%20550,%201,%200,%200,%201,%201%29)
[๓๖] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันอาราม ของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี
ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะภิกษุทั้งหลายว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงมีความเกิด(คือชาติ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%27,%200,%200,%20790,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29))เป็นธรรมดา
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สิ่งทั้งปวงที่มีความเกิดเป็นธรรมดาคืออะไรเล่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย คือ จักษุ รูป จักษุวิญญาณ จักษุสัมผัส(ผัสสะ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%B0%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29))มีความเกิด (http:///)(ของจิตหรือวิญญาณหนึ่งขึ้น จนยังให้เกิดเวทนาขึ้นด้วย)เป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)
(กล่าวคือเกิดแต่เหตุปัจจัยดังนี้ ตา...จิตหนึ่งก็มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา แล้วยังให้เกิดเวทนาเป็นธรรมดา)
(พระไตรปิฏก เล่มที่ ๑๘)
ในอายตนะหรือทวารอื่นๆในผู้ที่ยังดำรงขันธ์อยู่ ก็เป็นเฉกเช่นกัน กล่าวคือ เมื่อ หู กระทบ เสียง ย่อมเกิดโสตวิญญาณขึ้นเป็นธรรมดา แล้วย่อมเกิดการผัสสะ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%B0%27,%200,%200,%20790,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)กันเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) จิตหนึ่งจึงย่อมเกิดขึ้นเป็นธรรมดา ตั้งอยู่อย่างแปรปรวน แล้วย่อมดับไปเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29), เมื่อ คิดหรือธรรมารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29) กระทบกับ ใจ ย่อมเกิด มโนวิญญาณ หนึ่งขึ้นจากการกระทบกันเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) จิตหนึ่งก็ย่อมเกิดขึ้นอีกด้วยเป็นธรรมดา ตั้งอยู่อย่างแปรปรวน แล้วย่อมดับไปเป็นธรรมดา ฯลฯ. ดังนั้นจิตจึงเกิดแต่เหตุ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%27,%200,%200,%20790,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)ต่างๆอันหลากหลาย มาเป็นปัจจัย (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)แก่กันและกัน และยังครอบคลุมหมายรวมไปถึงอายตนะภายนอกหรืออารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)คือสิ่งต่างๆที่ไปกระทบสัมผัสอีกด้วยคือเหล่าอายตนะภายนอกทั้ง ๖ อันมี รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20300,%20200,%200,%200,%200,%201,%201%29)(สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยใจ) ดังเช่น เมื่อตากระทบรูป รูปหรือภาพที่เห็นอันทำหน้าที่เป็นอารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)ของจิตนั้น ก็ย่อมกลายเป็นส่วนหนึ่งของจิต กล่าวคือมีอิทธิพลหรือเป็นเหตุปัจจัยหนึ่งของจิตที่เกิด ณ ขณะนั้นๆ, จิตนั้นถ้าแยกออกมาเป็นกองเป็นกลุ่มหรือเป็นขันธ์ อย่างง่ายที่สุดก็มีถึง ๔ ขันธ์ คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งแต่ละกองหรือแต่ละขันธ์นั้น ก็ล้วนเป็นสังขาร-สิ่งปรุงแต่ง อันเกิดมาแต่เหตุปัจจัยต่างๆอีกมากหลายมาปรุงแต่งกันเช่นกัน จึงต่างล้วนเป็นส่วนหนึ่งหรือเป็นเหตุเป็นปัจจัยหนึ่งของจิตโดยทางอ้อมอีกด้วยทั้งสิ้น ดังนั้นเมื่อประกอบด้วยเหตุปัจจัยอันแปรปรวนได้มากหลายดังนี้ จึงย่อมมีความแปรปรวนง่ายดายเป็นที่สุด คือย่อมแปรปรวนไปตามเหตุต่างๆที่มาเป็นปัจจัยกันเหล่านั้นด้วย จึงมีพระพุทธดำรัสไว้ว่า
เราไม่เล็งเห็นสิ่งอื่นแม้สักอย่างหนึ่ง ที่จะเปลี่ยนแปลงได้รวดเร็วเหมือนจิตเลย
(เอกนิบาต ๒๐/๙)
จิตมีธรรมชาติดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยาก
(ธรรมบท ๒๕/๑๗)
"ภิกษุทั้งหลาย การที่ปุถุชนผู้มิได้เรียนรู้ จะเข้าใจไปยึดถือว่าร่างกายอันประกอบด้วยมหาภูตรูป ๔ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%95%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29) ว่าเป็นตัวตน (webmaster - ขยายความว่า ถึงแม้ว่าจะเป็นความเข้าใจที่ผิดก็ตาม แต่ก็)ยังดีกว่าจะยึดถือจิตว่าเป็นตัวตน เพราะว่า กายอันประกอบด้วยมหาภูตรูป ๔ นี้ ยังปรากฎให้เห็นว่าดำรงอยู่(webmaster - ขยายความว่า คงทนอยู่ไม่ได้อย่างแท้จริง อยู่ได้)เพียงปีหนึ่งบ้าง ๒ ปีบ้าง ๓ - ๔ - ๕ ปีบ้าง ๑๐ - ๒๐ - ๓๐ - ๔๐ - ๕๐ ปีบ้าง ๑๐๐ ปีบ้าง เกินกว่านั้นบ้าง แต่สิ่งที่เรียกว่า จิต มโน หรือวิญญาณนี้ ดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป เกิดดับอยู่เรื่อย ทั้งกลางวันทั้งกลางคืน(webmaster - ขยายความว่า เกิดแล้วดับ เกิดแล้วดับๆ อยู่ทั้งในขณะตื่น และแม้ขณะหลับไป เช่นการฝัน)"
(อัสสุตวตาสูตร (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27473.htm%27,%200,%200,%20780,%20550,%201,%200,%200,%201,%201%29))
(พระไตรปิฏก เล่มที่ ๑๖ หัวข้อที่ ๒๓๑)
<!-- / message --><!-- sig -->
__________________
จิตนั้นมีอยู่ แต่ไม่มีตัวตน ไม่ใช่ของตัวตน เกิดดับ เกิดดับ...ขึ้นตามเหตุปัจจัยการกระทบกันดังข้างต้นในมหาตัณหาสังขยสูตร (http://www.nkgen.com/773.htm#%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%93) จึงขึ้นหรืออิงอยู่กับเหตุปัจจัย จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวตนที่หมายถึงเราหรือของเรา จึงควบคุมบังคับบัญชาไม่ได้ตามปรารถนาอย่างแท้จริง ที่หมายถึงเมื่อกระทบกันของอายตนะภายนอก (http:///)และอายตนะภายใน (http:///)ในผู้ยังดำรงขันธ์หรือชีวิตินทรีย์อยู่ ย่อมต้องเกิดขึ้นเป็นธรรมดาเป็นไปตามธรรมหรือธรรมชาติ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%27,%200,%200,%20790,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29) แต่เพราะความที่ไปควบคุมเหตุบางประการได้ระยะหนึ่งเท่านั้ัน จึงเกิดมายา (http:///)หลอก ลวงจิตให้เห็นผิดไปว่าควบคุมบังคับมันได้ จิตจึงแปรปรวนไปตามเหตุหรือสิ่ง ที่กระทบสัมผัสอันเป็นไปตามธรรมหรือธรรมชาติ โดยอาศัยส่วนหนึ่งของกายเป็นประตูหรือทวารเชื่อมอีกด้วยโดยอายตนะภายใน (http:///)ต่างๆนั่นเอง และกายก็ยังเป็นแหล่งแสดงผลของจิตอีกทางหนึ่งด้วย ดังนั้นแม้แต่กายจริงๆแล้วก็เป็นส่วนหนึ่งหรือเหตุปัจจัยหนึ่งของจิตอีกด้วย ตลอดจนขันธ์ต่างๆของจิตเองอันมีเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณต่างก็ล้วนเป็นสังขารสิ่งปรุงแต่งขึ้นทั้งสิ้นเช่นกัน จึงต่างก็ล้วนมีเหตุมีปัจจัยของมันเองทั้ง สิ้น ด้วยเหตุดังนี้นี่เอง จิตจึงเป็นสิ่งที่แปรปรวน ลึกลับสุดหยั่ง และควบคุมบังคับได้ยาก เพราะเกิดแต่เหตุปัจจัยมากหลายดังที่กล่าวมา และยังมีมายาของจิตนั่นเองที่ พยายามเสกสรรปั้นแต่งด้วยอำนาจของตัณหาอันยังให้เกิดอุปาทานให้เห็นว่าเป็น ตัวเป็นตน หรือเป็นของตัวของตนอย่างแท้จริง
ด้วยธรรมชาติของชีวิตดังนี้นี่เอง เมื่อใจคิดนึกปรุงแต่ง กล่าวคือฟุ้งซ่าน ก็ย่อมเกิดจิตต่างๆขึ้นเป็นธรรมดา และเป็นเหตุปัจจัยต่อเนื่องให้เกิดเวทนา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%B2%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)ต่างๆขึ้นอีกด้วยเป็นธรรมดา ดังได้กล่าวโดยละเอียดไว้แล้วในขันธ์ ๕ ด้วยเหตุนี้นี่เองจึงจำเป็นต้องมีสติรู้ เท่าทันจิต กล่าวคือจิตสังขารที่ครอบคลุมทั้งเวทนาและจิตสังขารคิด แล้วหยุดฟุ้งซ่านหรือปรุงแต่งเสีย กล่าวคือเมื่อยังปรุงแต่งฟุ้งซ่านอยู่ย่อมยังให้เกิดทุกขเวทนาขึ้นได้เป็น ธรรมดา
ดังนั้นเราจึงพอให้แค่ความหมายแก่จิต เพียงเพื่อใช้ในการสื่อสารให้เกิดความเข้าใจกันว่า
จิต (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)คือ องค์ประกอบอันสำคัญยิ่งของ ชีวิตทั้งหลาย ส่วนที่นอกเหนือไปจากส่วนรูปหรือรูปขันธ์(ร่างกายหรือตัวตน) แต่ถึงกระนั้นกายนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งของจิตอีกด้วย หรือ
จิต (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)คือ ธรรมชาติที่รู้อารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) กล่าวคือ สภาวธรรมของชีวิตที่รับรู้อารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) กล่าวคือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ที่กระทบ, สภาพที่นึกคิด, ความคิด, ใจ;
ส่วนคำถามที่ว่า จิตอยู่ที่ไหน? นั้น เป็นคำตอบเดียวเช่นกับเงานั่นเอง กล่าวคือจิตไม่มีตัวตนแท้จริงเป็นอนัตตาเหมือนดังเงาดังที่กล่าวข้างต้น เมื่อมีเหตุ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)เป็นปัจจัย (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)กัน จิตหนึ่งก็เกิดขึ้น ไม่มีเหตุก็ไม่เกิด จึงอิงหรือขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัย ไม่มีใครเป็นเจ้าของอย่างแท้จริง กล่าวคือในผู้มีชีวิตินทรีย์อยู่ เมื่ออายตนะภายนอกกระทบหรือประจวบกับอายตนะภายในจิตหนึ่งหรือวิญญาณหนึ่งก็ย่อมต้องเกิดขึ้นเป็นธรรมดา
จิตหรือวิญญาณ จึงเป็นไปดังพระดำรัสที่ตรัสไว้ดีแล้ว ในมหาตัณหาสังขยสูตรตอนหนึ่งว่า (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27773.htm#443%27,%200,%200,%20795,%20555,%200,%200,%200,%201,%201%29)
ดูกรภิกษุทั้งหลายวิญญาณอาศัยปัจจัยประชุมกันเกิดขึ้น
เรากล่าวแล้วโดยปริยาย (http:///)เป็นอเนก (http:///)มิใช่หรือ ความเกิดแห่งวิญญาณ เว้นจากปัจจัย มิได้มี
<!-- / message --><!-- sig -->
ในพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ของพระเดชพระคุณเจ้าพระธรรมปิฏก ก็ได้กล่าวถึงจิตไว้ดังนี้
"จิต มีไวพจน์ (http:///)คือ คำที่ต่างเพียงรูป แต่มีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายกัน ใช้แทนกันได้หลายคำ เช่น มโน มานัส หทัย บัณฑร มนายตนะ มนินทรีย์ และ วิญญาณ เป็นต้น คำเหล่านี้มีความหมายเกยกัน มิใช่ตรงกันโดยสมบูรณ์ ใช้แทนกันได้ในบางโอกาส มิใช่เสมอไป
เมื่อจัดแบ่งสภาวธรรมทั้งหลายเป็นประเภทๆ ที่เรียกว่า ขันธ์ ๕ จิตได้แก่ วิญญาณขันธ์.
ส่วนคัมภีร์อภิธรรมรุ่นอรรถกถา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%81%E0%B8%96%E0%B8%B2%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29) ประมวลเรื่องจิตที่แสดงไว้ในพระอภิธรรมปิฎกแล้ว แจงนับสภาพจิตทั้งหลายไว้ว่ามีจำนวน ๘๙ หรือโดยพิสดารมี ๑๒๑ เรียกว่า จิต ๘๙ หรือ ๑๒๑
แบ่ง โดยชาติหรือลักษณะของการเกิดแบบต่างๆ เป็น อกุศลจิต ๑๒ กุศลจิต ๒๑ (พิสดารเป็น ๓๗) วิปากจิต ๓๖ (๕๒) และกิริยาจิต ๒๐;
แบ่ง โดยภูมิ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29) เป็น กามาวจรจิต ๕๔ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปาวจรจิต ๑๒ และโลกุตตรจิต ๘ (พิสดารเป็น ๔๐)."
ดังคำอรรถกถาธิบายข้างต้น จะเห็นการจำแนกจิต จิต โดยตามความเป็นจริงแล้วจึงเกิดได้หลายดวงหรืออาการในชั่วขณะหนึ่งเช่นกัน ดังเช่น เมื่อตากระทบรูปจิตหนึ่งหรือวิญญาณหนึ่งก็ย่อมเกิดขึ้นเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) และในขณะเดียวกันนั้นหูก็กระทบในเสียงก็ย่อมมีจิตอีกดวงย่อมเกิดขึ้นร่วมด้วยเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) และถ้าในขณะนั้นธรรมารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)(เช่นคิด)กระทบใจ ก็ย่อมมีอีกจิตหนึ่งร่วมเกิดขึ้นด้วยอีกเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29) ฯ. จึงเกิดจิตได้หลายดวงหรืออาการในขณะหนึ่งๆ เพียงแต่ว่าจิตดวงใดเด่นหรือเป็นเอกอยู่ในขณะนั้นๆ หมาย ถึงแสดงอาการออกมาอย่างเด่นชัดที่สุดในขณะนั้นๆนั่นเอง อุปมาได้ดังพลุที่ยิงขึ้นท้องฟ้าในงานเทศกาล อันย่อมประกอบด้วยพลุจำนวนมากนับสิบนับร้อย แต่ ณ ขณะหนึ่งๆนั้น ย่อมมีพลุที่งามเด่นในสายตาอยู่หนึ่ง แต่แล้วต่างก็ล้วนต้องดับไปเป็นที่ สุด จิตก็เป็นไปเช่นดังพลุ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27jit1.htm%27,%200,%200,%20790,%20530,%200,%200,%200,%201,%201%29)หรือดังเงาที่กล่าวข้างต้นนั่นเอง
เงานั้นเกิดแต่เหตุปัจจัย เช่น วัตถุทึบแสง และแสง เมื่อสิ่งเหล่านี้ กล่าวคือเหตุ มีอาการแปรปรวนอันใดเป็นธรรมดาเงานั้นก็ต้องแปรปรวนหรืออิงขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัย (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#l%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)นั้นๆ มิสามารถควบคุมบังคับบัญชาให้เป็นไปตามปรารถนา เพราะแปรปรวนหรืออิงกับเหตุ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)อันมาเป็นปัจจัย (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)แก่กันและกันเหล่านั้นเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)อย่างจริงแท้แน่นอน ไม่มีตัวตนที่แท้จริง หรือตัวตนไม่เป็นแก่นเป็นแกนอย่างแท้จริง จิตก็เช่นเดียวกัน แต่เงานั้นเมื่อมีอาการแปรปรวนไปเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)แล้ว เป็นทุกข์ไหม? ย่อมไม่เป็นทุกข์เพราะไม่มีตัณหาทะยานอยากหรือไม่อยากใดๆในเงานั้นนั่นเอง อันเป็นสิ่งที่เราพึงต้องพยายามปฏิบัติให้เป็นเช่นนั้นต่อจิตหรือผลของจิตเช่นกัน
เนื่อง จากจิตเกิดแต่เหตุได้มากหลาย มาเป็นปัจจัยกัน จิตจึงกวัดแกว่ง แปรปรวนได้ง่าย ควบคุมบังคับได้ยาก จึงต้องหัดควบคุมจิตไม่ให้กวัดแกว่ง แปรปรวน หรือฟุ้งซ่าน เราจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดในการฝึกจิตให้มีสติ ระลึกรู้เมื่อปรุงแต่ง และมีปัญญาอย่างแจ่มแจ้งไม่คิดนึกปรุงเพราะรู้เข้าใจว่า ถ้าคิดปรุงแต่งฟุ้งซ่านเสียแล้วย่อมก่อให้เกิดทุกข์อุปาทานขึ้นนั่นเอง
<!-- / message --><!-- sig -->
ธรรมชาติของจิตและนํ้า ในทัศนะของผู้ขียน
อันเป็นสภาวะโดยปกติธรรมชาติ(ปรมัตถ์)ที่เป็นจริงอยู่เช่นนี้
(เพื่อให้เห็นจิต เป็นรูปธรรมหรือภาพพจน์ได้ชัดเจนขึ้น)
ธาตุจิตนั้นเปรียบประดุจดั่งธาตุนํ้า
นํ้านั้นไร้รูปร่าง ไร้ขอบเขต สามารถแผ่ขยายหรือแปรปรวนไปตามสิ่งแวดล้อมหรือภาชนะที่บรรจุหรือรองรับ, ฝ่ายจิตนั้น ก็ไร้รูปร่าง ไร้ขอบเขต แปรปรวนไปตามอารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20200,%200,%200,%200,%201,%201%29) [สิ่งที่จิตยึดเหนี่ยวหรือสัมผัสในขณะนั้น ] หรือก็คือสิ่งแวดล้อมอันได้แก่อายตนะภายนอก เช่น รูป เสียง ฯ. ที่กระทบสัมผัส(ผัสสะ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B8%B0%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29))นั่นเอง
นํ้าอันเป็นวัตถุธาตุประกอบด้วยเหตุปัจจัยต่างๆมาประชุมรวมกันชั่วระยะหนึ่งคือ H และ O กล่าวคือมีอะตอมของ H 2 อะตอม และ O เป็นเหตุ มาเป็นปัจจัยแก่กันและกัน เกิดสิ่งที่เราเรียกว่านํ้า, ฝ่ายจิต แม้เป็นนามธรรม แต่ก็เป็นสังขารหรือสิ่งที่ถูกปรุงแต่งขึ้นเช่นกัน จึงเกิดมาแต่เหตุมาเป็นปัจจัยแก่กันและกัน เฉกเช่นนํ้านั่นเอง และประกอบด้วยเหตุปัจจัยยิ่งมากหลายมาประชุมกันชั่วขณะหรือระยะหนึ่ง จิตประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น ชีวิตินทรีย์ (http:///) การกระทบกันของอายตนะภายนอกกับอายตนะภายในอันเป็นส่วนหนึ่งของกาย ตลอดจนอารมณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%27,%200,%200,%20770,%20200,%200,%200,%200,%201,%201%29)(สิ่งที่จิตยึดเหนี่ยวหรือกระทบสัมผัส เช่น รูป เสียง กลิ่น...)และปัจจัยต่างๆอีกมากมาย
นํ้ามีคุณสมบัติไหลลงสู่ที่ตํ่าเพราะแรงดึงดูดโลก, ธรรมชาติของจิตก็มีคุณสมบัติเหมือนดั่งนํ้าที่ย่อมไหลลงสู่ที่ตํ่า แต่ตามแรงดึงดูดของความเคยชินที่ได้สั่งสมอบรมนอนเนื่องอยู่(อาสวะกิเลสอันเป็นปัจจัยร่วมกับอวิชชายังให้เกิดสังขารต่างๆ)หรือกิเลสตัณหาแลอุปาทานนั่นเอง, อันคือย่อมต้องหมุนไปตามภวจักรปฎิจจสมุปบาท เหมือนดังโลกย่อมหมุนรอบตัวเองนั่นเอง คือเป็นไปตามสังขารที่สั่งสมอบรมไว้อันเกิดขึ้นแต่อาสวะกิเลสร่วมด้วยอวิชชา
ถ้าเราต้องการยกระดับนํ้าให้สูงขึ้น ย่อมต้องออกแรงกระทำหรือปฏิบัติฉันใด, จิตจักยกระดับให้สูงขึ้นเป็นโลกุตระ คือสภาวะเหนือจากทางโลกๆได้ ก็ย่อมต้องการการพยายามปฏิบัติฉันนั้น,
การยกระดับนํ้าให้สูงขึ้นต้องใช้ความคิดหาวิธีการและการปฏิบัติที่ถูกต้อง เช่นคิดใช้เครื่องกล,ภาชนะหรืออุปกรณ์ที่ถูกต้อง แล้วปฏิบัติดั่งนั้น จึงย่อมยกระดับนํ้าได้รวดเร็วฉันใด, จิตก็ย่อมต้องการการคิดเพื่อการปฏิบัติอย่างถูกต้องจึงจักยกระดับจิตให้สูงขึ้นได้เร็วฉันนั้น,
ธรรมชาติของนํ้า เดือดพล่านเพราะไฟอันเป็นของร้อนฉันใด, จิตย่อมเดือดพล่าน เร่าร้อน เพราะไฟ อันร้อนแรงของกิเลส ตัณหา อุปาทานที่เผาลนฉันนั้น อันล้วนมักเกิดจากเวทนาของการคิดปรุงแต่ง
นํ้าบริสุทธ์คือนํ้าที่ไม่มีสิ่งเจือปน, จิตบริสุทธ์ก็คือจิตเดิมแท้ที่ไม่เจือด้วยกิเลสตัณหาอุปาทานนั่นเอง หรือจิตเดิมแท้นั่นแหละคือจิตพุทธะ อันมีอยู่แล้วในทุกผู้คน เพียงแต่ถูกเจือปน บดบังหรือครอบงําด้วยกิเลส ตัณหา อุปาทาน
จึงช่างพ้องเหมาะสมกับคำว่า นํ้าจิต หรือนํ้าใจ เสียนี่กระไร
พนมพร
เปรียบเทียบสภาวธรรมของจิตกับนํ้า
ความทุกข์ - จิตอันขุ่นมัวเศร้าหมองด้วยกิเลสและเดือดพล่านด้วยตัณหาความทะยานอยาก เปรียบประดุจ นํ้าอันขุ่นมัวที่ต้มเดือดพล่าน เมื่อดื่มเข้าไปย่อมเกิดความไม่สบายกายไม่สบายใจต่อความร้อนอันเดือดพล่านนั้นเป็นธรรมดา และย่อมไม่อร่อยด้วยสิ่งเจือปนอันแสนระคาย
นิโรธ - หรือสภาวะนิพพาน หรือตทังคนิพพาน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27tnippan.htm%27,%200,%200,%20300,%20200,%200,%200,%200,%200,%200%29)หรือสภาวะจิตปลอดจากทุกข์ ปลอดจากความเผาลนกระวนกระวาย เปรียบประหนึ่ง นํ้าธรรมดาอันสะอาดบริสุทธิไร้สิ่งปรุงแต่งหรือปราศจากสิ่งขุ่นมัว เมื่อดื่มเข้าไปจึงมีแต่คุณประโยชน์ล้วนสิ้นต่อชีวิต ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
ความสุข - สภาวะจิตของความสุข และหมายรวมถึงฌานหรือสมาธิ อันอิ่มเอิบ ซาบซ่าน เปรียบประดุจ นํ้าอันเย็นฉํ่าอันยังมีสิ่งขุ่นมัวปะปนอยู่บ้าง แม้เมื่อดื่มเข้าไปย่อมยังความอิ่มเอิบซาบซ่านเป็นธรรมดา จึงย่อมเป็นที่ถูกใจของปุถุชน แต่ก็ยังมีโทษเพราะยังมีสิ่งเจือปนแอบแฝงอยู่นั่นเอง ตลอดจนเมื่อความเย็นซาบซ่านเหล่านั้นหายไปก็เกิดความเร่าร้อนกระวนกระวาย คำนึงถึง อยากได้อีก เป็นธรรมดา ตลอดจนเมื่อบริโภคมากเกินไปหรือบริโภคในบางสภาวะก็ก่อให้เกิดโทษทุกข์ภัย จากความเย็นอันอิ่มเอิบซาบซ่านจนเป็นความเจ็บไข้ได้ป่วยเป็นธรรมดา
พนมพร
หมายเหตุ webmaster - คำอุปมาอุปไมย ที่หลวงปู่ดูลย์ อตุโล หรือคำสอนของฮวงโป ได้กล่าวถึงจิตไว้ว่า "สิ่งนี้เป็นเสมือนกับความว่าง อันปราศจากขอบทุกๆด้าน ซึ่งไม่อาจจะหยั่ง หรือวัดได้" ดังยกมากล่าวไว้ข้างต้น มักมีผู้ไปเข้าใจผิดๆ ไปคิดไปยึดความว่างนั้นอย่างเป็นอรูปฌาน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#l%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%8C%E0%B8%B2%E0%B8%99%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)ไป เสีย คือไปทำให้ว่างๆจากความคิดความนึกทั้งปวง ซึ่งถ้าว่างต้องว่าง จากราคะ โทสะ โมหะหรือว่าว่างจากการคิดฟุ้งซ่านหรือปรุงแต่ง, จึงเป็นการ เข้าใจที่ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริงตามที่หลวงปู่ได้สื่อไว้ เพราะความหมายที่แท้จริงย่อมหมายถึง แสดงจิตนี้เป็นเสมือนความว่าง เพราะความเป็นอนัตตาไม่มีตัวไม่มีตนอย่างแท้จริงหรือสภาวะอนัตตา ล้วนเกิดแต่เหตุปัจจัยประชุมกันชั่วขณะ แล้วก็ดับไป จึงย่อมไม่มีตัวตนเป็นก้อนเป็นมวลเป็นฆนะอย่างแท้จริง จึงไร้ขอบเขตหรือรูปร่างลักษณะให้วัดหยั่งหรือจับต้องได้ ดังเช่นความว่าง ความว่างเปล่า หรือเงาทั้งปวงนั่นเอง
พุทธพจน์
จิตนี้ประภัสสร(ผุดผ่อง ผ่องใส บริสุทธิ์) แต่เศร้าหมองเพราะอุปกิเลสที่จรมา มีความหมายว่า จิตนี้โดยธรรมชาติเดิมแท้ของมันเองนั้น ผ่องใสหรือบริสุทธิ์ มิได้แปดเปื้อนสกปรกหรือมีสิ่งเศร้าหมองเจือปนอยู่ แต่สภาพเศร้าหมองด้วยอุปกิเลส (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%AA%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)นั้นเป็นของแปลกปลอมเข้ามาภายหลัง กล่าวคือ เหล่ากิเลสได้เข้ามาเจือปนเสีย ฉะนั้น การชำระจิตให้สะอาดหมดจด จึงเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ กล่าวคือเพียงแต่นำออกเสียซึ่งกิเลสนั่นเอง"
จิตตสังขาร (http://www.nkgen.com/360.htm)
จิตไม่มีตัวไม่มีตน เกิดแต่เหตุปัจจัย ดุจดั่งเงา ก็จริงอยู่ แต่สามารถเห็นจิตตสังขาร (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A3%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29)ได้ด้วยสติและปัญญา
http://board.agalico.com/showthread.php?t=25995
ขับเคลื่อนระบบโดย vBulletin™ Version 4.2.2 Copyright © 2024 vBulletin Solutions, Inc. All rights reserved.