*8q*
01-25-2009, 02:34 PM
ธรรมหรือธรรมชาตินั่นเอง
ธรรมนิยาม หมายความว่า กำหนดแน่นอนแห่งธรรมดา (http://www4.nt.ac.th/first-web-nt/dhumma-online/719.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3), กฎธรรมชาติ,
ความจริงที่มีอยู่หรือดำรงอยู่ตามธรรมชาติของมัน ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบแล้วทรงนำมาแสดงชี้แจงอธิบายให้คนทั้งหลายให้รู้ตาม มี ๓ อย่าง
แสดงความตามพระบาลีดังนี้
๑. สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง
๒. สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวง คงทนอยู่มิได้
๓. สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวง ไม่เป็นตัวตน;
ดู ไตรลักษณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%2712.htm%27,%200,%200,%20780,%20550,%201,%200,%200,%201,%201%29)
พึงทราบว่า พระบาลีเรียกไตรลักษณ์ ว่า ธรรมนิยาม (ธมฺมนิยามตา) (http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/sutta_name.php?book=1&bookZ=45&name=%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3&book=20&bookZ=20) ส่วน คำว่าไตรลักษณ์และสามัญลักษณะ เป็นคำที่เกิดขึ้นในยุคอรรถกถา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%81%E0%B8%96%E0%B8%B2%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29) กล่าวคือ เรียกกันในภายหลัง
(พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยท่านพระธรรมปิฎก)
พระธรรม คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าหรือถ้าแปลขยายความเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องเพื่อใช้ในการปฏิบัติ จึงคงได้ความหมายดังนี้ว่า
ธรรม ธรรมะ หรือธรรมชาตินั่นเอง ดังนั้นพระธรรมจึงมีความหมายว่าคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอันล้วนแล้วเป็นเรื่องของธรรมหรือสภาวธรรมชาติที่เกี่ยวกับการเกิดขึ้นของความทุกข์ และธรรมชาติในการดับไปแห่งกองทุกข์ก็เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการดับไปของทุกข์ อันเป็นบรมสุขอย่างยิ่ง
ธรรมจึงเป็นไปดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ว่า
เราเป็นผู้ที่เปิดของที่ควํ่าอยู่(อันคือธรรมหรือสภาวธรรมหรือธรรมชาติของความทุกข์และการดับทุกข์)หงายขึ้นเปิดเผยแสดงแก่โลก
และอีกพระพุทธพจน์หนึ่งที่ตรัสไว้
ในกาลก่อนก็ตามในบัดนี้ก็ตาม เราตถาคต บัญญัติขึ้นสอนแต่เรื่องทุกข์และความดับสนิทไม่เหลือแห่งทุกข์เท่านั้น(อันเป็นสุขยิ่ง)
ธรรม หรือ ธรรมชาติ ส่วนที่เป็นอสังขตธรรม (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)นั้นมีความเที่ยง และคงทนต่อทุกกาลหรืออกาลิโก (http:///)ดังที่ได้แสดงไว้แล้วในเรื่องอนัตตา (http://www4.nt.ac.th/first-web-nt/dhumma-online/735.htm) ถึงแม้จะไม่มีตัวตนเป็นแก่นแกนแท้จริง ดังเช่นสังขารทั้งปวง
ธรรมหรือธรรมชาติเป็นเรื่องของความเป็นจริงอันยิ่งใหญ่ ที่มันต้องเป็นเช่นนี้เอง(ตถตา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%95%E0%B8%B2%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)) ไม่มีผู้ใดตั้งแต่โบราณกาลจวบจนปัจจุบันและต่อไปในอนาคตจะไปควบคุมบังคับบัญชาได้อย่างจริงแท้และแน่นอนเป็นสิ่งที่มีพร้อมมากับกำเนิดของโลกทั้งหลายและจะคงอยู่เช่นนี้เองอยู่ตลอดไปจนถึงกาลแตกดับ ดังเช่น กฎพระไตรลักษณ์ก็เป็นการกล่าวถึงสภาวธรรมหรือธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ของสังขารทั้งปวงโดยองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง
แต่ถึงแม้ธรรมชาติจักมีอำนาจอันยิ่งใหญ่สักปานใดแต่ด้วยพระปรีชาญาณยิ่งขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองผู้ทรงทราบถึงเหตุปัจจัยเหล่านี้อย่างแจ่มแจ้งจึงมีพระพุทธดำรัสไว้ว่าการปฏิบัติของพระองค์ท่านนั้นเป็นเรื่อง"สวนทวนกระแส" อันเป็นไปตามกระแสพระพุทธดำรัสนั้นอย่างถูกต้อง คือเป็นเรื่องสวนทวนกระแสธรรมชาติของมนุษย์หรือปุถุชน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%99%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29) ที่ตามธรรมชาติแล้วจะต้องเกิดการสั่งสมกิเลสตัณหาต่างๆนาๆแล้วไหลเลื่อนไปสู่กองทุกข์โดยไม่รู้ตัวอันเป็นจริงดุจธรรมชาติของนํ้าที่โดยธรรมชาติแล้วย่อมไหลจากที่สูงลงสู่ที่ตํ่าเท่านั้นเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)ดังนั้นธรรมของพระองค์จึงเป็นเรื่องสวนทวนกระแสธรรมชาติของปุถุชน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%99%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)ที่ตามปกติแล้วจะต้องไหลเลื่อนลงสู่กองทุกข์เช่นกันเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)ดุจดั่งน้ำดังนั้นพระองค์ท่านจึงได้สอนการปฏิบัติเพื่อสร้างสมธรรมหรือธรรมชาติของชีวิตแบบใหม่หรือแบบดับทุกข์อันเป็นสุขยิ่งนั่นเองโดยอาศัยธรรมชาติอันยิ่งใหญ่นั่นแหละเป็นตัวจักรกลขับเคลื่อนให้หลุดพ้นออกจากกองทุกข์ โดยการสร้างสมสังขารอันเกิดแต่ปัญญาญาณขึ้น เป็นสังขารอันนำพาให้พ้นไปจากทุกข์ เป็นสังขารที่มิได้เกิดแต่อวิชชาดังเช่นในวงจรปฏิจจสมุปบาท แต่กลับเป็นสังขารที่เกิดขึ้นโดยวิชชาของพระองค์อันมีฤทธิ์มาก สามารถสวนทวนกระแสของความทุกข์ในปุถุชน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%99%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)ได้
"กาลนี้ ไม่ควรประกาศธรรมที่เราบรรลุได้แล้วโดยยาก.
ธรรมนี้สัตว์ที่ถูกราคะโทสะรวบรัดแล้วไม่รู้ได้โดยง่ายเลย.
สัตว์ที่กําหนัดด้วยราคะ ถูกกลุ่มมืดห่อหุ้มแล้ว
จักไม่เห็นธรรมอันให้ถึงที่ทวนกระแส (http:///)
อันเป็นธรรมละเอียดลึกซึ้ง เห็นได้ยากเป็นอณู (http:///)."
(พระไตรปิฏก เล่มที่ ๑๓ / ๕๐๖)
ด้วยพระปัญญาญาณจึงได้อาศัยธรรมชาติอันยิ่งใหญ่เหล่านั้นเอง มาปฏิบัติสวนทวนกระแสธรรมชาติของปุถุชน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%99%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)ที่ก่อให้เกิดทุกข์จนสําเร็จได้ อุปมาได้ดั่งเรือใบที่แล่นทวนสวนกระแสลมและกระแสนํ้าของธรรมชาติอันยิ่งใหญ่นั้นได้ก็ด้วยความเข้าใจในธรรมชาติของน้ำและลม และใช้ธรรมชาติของนํ้าและลมนั้นเองเป็นเหตุปัจจัยร่วมกันกับใบเรือและหางเสือที่ถูกต้องดีงามที่เป็นผู้ผันแปรธรรมชาติของลมและน้ำนั้น ให้เรือนั้นสามารถแล่นสวนทวนกระแสของทั้งลมและน้ำอันยิ่งใหญ่โดยธรรมชาติได้ใบเรือและหางเสือจึงอุปมาได้ดั่งสังขารธรรมหรือธรรมะอันถูกต้องดีงามของพระองค์ท่าน ที่รู้เข้าใจเหตุปัจจัยอย่างแจ่มแจ้งในธรรมชาติของชีวิต,ของความทุกข์อันเป็นธรรมชาติ แล้วจึงผันแปรสิ่งอันยิ่งใหญ่เหล่านั้น มาดับทุกข์เสียเองดุจดั่งของลมและน้ำนั่นเอง ที่ทําให้เรือแล่นสวนทวนกระแสธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ที่มีที่เป็นอย่างเกิดๆดับๆอยู่อย่างนั้นเองของลมและนํ้าได้
<!-- / message --><!-- sig -->
__________________
ธรรมนิยาม หมายความว่า กำหนดแน่นอนแห่งธรรมดา (http://www4.nt.ac.th/first-web-nt/dhumma-online/719.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3), กฎธรรมชาติ,
ความจริงที่มีอยู่หรือดำรงอยู่ตามธรรมชาติของมัน ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบแล้วทรงนำมาแสดงชี้แจงอธิบายให้คนทั้งหลายให้รู้ตาม มี ๓ อย่าง
แสดงความตามพระบาลีดังนี้
๑. สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง
๒. สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวง คงทนอยู่มิได้
๓. สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวง ไม่เป็นตัวตน;
ดู ไตรลักษณ์ (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%2712.htm%27,%200,%200,%20780,%20550,%201,%200,%200,%201,%201%29)
พึงทราบว่า พระบาลีเรียกไตรลักษณ์ ว่า ธรรมนิยาม (ธมฺมนิยามตา) (http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/sutta_name.php?book=1&bookZ=45&name=%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3&book=20&bookZ=20) ส่วน คำว่าไตรลักษณ์และสามัญลักษณะ เป็นคำที่เกิดขึ้นในยุคอรรถกถา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%81%E0%B8%96%E0%B8%B2%27,%200,%200,%20780,%20230,%201,%200,%200,%201,%201%29) กล่าวคือ เรียกกันในภายหลัง
(พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยท่านพระธรรมปิฎก)
พระธรรม คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าหรือถ้าแปลขยายความเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องเพื่อใช้ในการปฏิบัติ จึงคงได้ความหมายดังนี้ว่า
ธรรม ธรรมะ หรือธรรมชาตินั่นเอง ดังนั้นพระธรรมจึงมีความหมายว่าคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอันล้วนแล้วเป็นเรื่องของธรรมหรือสภาวธรรมชาติที่เกี่ยวกับการเกิดขึ้นของความทุกข์ และธรรมชาติในการดับไปแห่งกองทุกข์ก็เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการดับไปของทุกข์ อันเป็นบรมสุขอย่างยิ่ง
ธรรมจึงเป็นไปดังพระพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ว่า
เราเป็นผู้ที่เปิดของที่ควํ่าอยู่(อันคือธรรมหรือสภาวธรรมหรือธรรมชาติของความทุกข์และการดับทุกข์)หงายขึ้นเปิดเผยแสดงแก่โลก
และอีกพระพุทธพจน์หนึ่งที่ตรัสไว้
ในกาลก่อนก็ตามในบัดนี้ก็ตาม เราตถาคต บัญญัติขึ้นสอนแต่เรื่องทุกข์และความดับสนิทไม่เหลือแห่งทุกข์เท่านั้น(อันเป็นสุขยิ่ง)
ธรรม หรือ ธรรมชาติ ส่วนที่เป็นอสังขตธรรม (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)นั้นมีความเที่ยง และคงทนต่อทุกกาลหรืออกาลิโก (http:///)ดังที่ได้แสดงไว้แล้วในเรื่องอนัตตา (http://www4.nt.ac.th/first-web-nt/dhumma-online/735.htm) ถึงแม้จะไม่มีตัวตนเป็นแก่นแกนแท้จริง ดังเช่นสังขารทั้งปวง
ธรรมหรือธรรมชาติเป็นเรื่องของความเป็นจริงอันยิ่งใหญ่ ที่มันต้องเป็นเช่นนี้เอง(ตถตา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%95%E0%B8%B2%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)) ไม่มีผู้ใดตั้งแต่โบราณกาลจวบจนปัจจุบันและต่อไปในอนาคตจะไปควบคุมบังคับบัญชาได้อย่างจริงแท้และแน่นอนเป็นสิ่งที่มีพร้อมมากับกำเนิดของโลกทั้งหลายและจะคงอยู่เช่นนี้เองอยู่ตลอดไปจนถึงกาลแตกดับ ดังเช่น กฎพระไตรลักษณ์ก็เป็นการกล่าวถึงสภาวธรรมหรือธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ของสังขารทั้งปวงโดยองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง
แต่ถึงแม้ธรรมชาติจักมีอำนาจอันยิ่งใหญ่สักปานใดแต่ด้วยพระปรีชาญาณยิ่งขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองผู้ทรงทราบถึงเหตุปัจจัยเหล่านี้อย่างแจ่มแจ้งจึงมีพระพุทธดำรัสไว้ว่าการปฏิบัติของพระองค์ท่านนั้นเป็นเรื่อง"สวนทวนกระแส" อันเป็นไปตามกระแสพระพุทธดำรัสนั้นอย่างถูกต้อง คือเป็นเรื่องสวนทวนกระแสธรรมชาติของมนุษย์หรือปุถุชน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%99%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29) ที่ตามธรรมชาติแล้วจะต้องเกิดการสั่งสมกิเลสตัณหาต่างๆนาๆแล้วไหลเลื่อนไปสู่กองทุกข์โดยไม่รู้ตัวอันเป็นจริงดุจธรรมชาติของนํ้าที่โดยธรรมชาติแล้วย่อมไหลจากที่สูงลงสู่ที่ตํ่าเท่านั้นเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)ดังนั้นธรรมของพระองค์จึงเป็นเรื่องสวนทวนกระแสธรรมชาติของปุถุชน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%99%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)ที่ตามปกติแล้วจะต้องไหลเลื่อนลงสู่กองทุกข์เช่นกันเป็นธรรมดา (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27368.htm%27,%200,%200,%20770,%20200,%201,%200,%200,%201,%201%29)ดุจดั่งน้ำดังนั้นพระองค์ท่านจึงได้สอนการปฏิบัติเพื่อสร้างสมธรรมหรือธรรมชาติของชีวิตแบบใหม่หรือแบบดับทุกข์อันเป็นสุขยิ่งนั่นเองโดยอาศัยธรรมชาติอันยิ่งใหญ่นั่นแหละเป็นตัวจักรกลขับเคลื่อนให้หลุดพ้นออกจากกองทุกข์ โดยการสร้างสมสังขารอันเกิดแต่ปัญญาญาณขึ้น เป็นสังขารอันนำพาให้พ้นไปจากทุกข์ เป็นสังขารที่มิได้เกิดแต่อวิชชาดังเช่นในวงจรปฏิจจสมุปบาท แต่กลับเป็นสังขารที่เกิดขึ้นโดยวิชชาของพระองค์อันมีฤทธิ์มาก สามารถสวนทวนกระแสของความทุกข์ในปุถุชน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%99%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)ได้
"กาลนี้ ไม่ควรประกาศธรรมที่เราบรรลุได้แล้วโดยยาก.
ธรรมนี้สัตว์ที่ถูกราคะโทสะรวบรัดแล้วไม่รู้ได้โดยง่ายเลย.
สัตว์ที่กําหนัดด้วยราคะ ถูกกลุ่มมืดห่อหุ้มแล้ว
จักไม่เห็นธรรมอันให้ถึงที่ทวนกระแส (http:///)
อันเป็นธรรมละเอียดลึกซึ้ง เห็นได้ยากเป็นอณู (http:///)."
(พระไตรปิฏก เล่มที่ ๑๓ / ๕๐๖)
ด้วยพระปัญญาญาณจึงได้อาศัยธรรมชาติอันยิ่งใหญ่เหล่านั้นเอง มาปฏิบัติสวนทวนกระแสธรรมชาติของปุถุชน (http://javascript%3cb%3e%3c/b%3E:na_open_window%28%27win%27,%20%27ex3.htm#%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%8A%E0%B8%99%27,%200,%200,%20770,%20220,%201,%200,%200,%201,%201%29)ที่ก่อให้เกิดทุกข์จนสําเร็จได้ อุปมาได้ดั่งเรือใบที่แล่นทวนสวนกระแสลมและกระแสนํ้าของธรรมชาติอันยิ่งใหญ่นั้นได้ก็ด้วยความเข้าใจในธรรมชาติของน้ำและลม และใช้ธรรมชาติของนํ้าและลมนั้นเองเป็นเหตุปัจจัยร่วมกันกับใบเรือและหางเสือที่ถูกต้องดีงามที่เป็นผู้ผันแปรธรรมชาติของลมและน้ำนั้น ให้เรือนั้นสามารถแล่นสวนทวนกระแสของทั้งลมและน้ำอันยิ่งใหญ่โดยธรรมชาติได้ใบเรือและหางเสือจึงอุปมาได้ดั่งสังขารธรรมหรือธรรมะอันถูกต้องดีงามของพระองค์ท่าน ที่รู้เข้าใจเหตุปัจจัยอย่างแจ่มแจ้งในธรรมชาติของชีวิต,ของความทุกข์อันเป็นธรรมชาติ แล้วจึงผันแปรสิ่งอันยิ่งใหญ่เหล่านั้น มาดับทุกข์เสียเองดุจดั่งของลมและน้ำนั่นเอง ที่ทําให้เรือแล่นสวนทวนกระแสธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ที่มีที่เป็นอย่างเกิดๆดับๆอยู่อย่างนั้นเองของลมและนํ้าได้
<!-- / message --><!-- sig -->
__________________